Categories
weSafeguardKids

Online Public Hearing on COP Act

Today, Snow White listened to Dr. Srida of ThaiHotline.org and Prosecutor Mark give insights to the harms children experience online and the current version of the Child Online Protection Act (COP Act) drafted to protect children from such harms.

Dr. Srida Tantaatipanit, Director of Internet Foundation for the Development of Thailand (ThaHotline.org), shared information gathered from Thai and international research reports. She emphasized the need to act, having worked with a multidisciplinary team of experts several years ago to draft the COP Act.

Mark proposes courts hear the child victim’s statement , too 😍

Prosecutor Mark then explained the extensive and intricate considerations involved in drafting the COP Act. He covered the main offenses (shown in one of the photos) and presented cases to help the public understand the necessary considerations.

The public participants then asked practical questions, some of which are noted below.

Some Questions from the Audience:

Are A.I.-generated sexual depictions of a child considered an offense?

Yes, sexual images of a child created by means of artificial intelligence is currently considered an offense by the Thai Penal Code, as are drawings or computer graphics of sexual depictions of a child.  

What about unintentional filming of a child by something like a CCTV camera?

The Thai law involves the aspect of intent for exploitation/sexual purposes, so the unintentional filming example given by the audience participant would not be considered an offense.

Request from Prosecutor Mark to those researching the issue of grooming:

Study the elements of grooming that would be and would not be considered criminal and study the Thai mindset of criminality, which is still stuck at waiting until a target/ victim is physically touched and even physically harmed before the act is considered an offense.

What about sexual material of a child created by a child between the ages 12-15?

There are offenses of possession and of sharing CSAM. Although these acts are considered offenses even if committed by a child, children in conflict with the law would follow the juvenile justice pathway, unlike adult offenders.

Other questions asked included the possibility of sections of this Act being exploited to persecute innocent people, the exposure of CSAM of a victim multiple times throughout the reporting and criminal justice process, appropriate handling of CSAM, and the need to train frontline officials on victim-centered/child-friendly/child-rights practices.

Hosted by the Thai Ministry of Social Development and Human Security
Categories
กิจกรรมต่างๆ weSafeguardKids

Dear Women Leaders, Please Safeguard Children in Business and Tech

On 25 June 2022, hundreds of women business and ministerial leaders from 60 countries gathered at the Bangkok Convention Center for the closing of the 3-day Global Summit of Women. During the closing ceremony, the Vice Chairman of SafeguardKids Foundation called on women’s natural leadership ability to help keep children safe from violence online and offline.

Confronting the Global Trafficking of Children

by Khun Suriyon Sriorathaikul, Managing Director of Beauty Gems and Vice Chairman of SafeguardKids Foundation Thailand

It’s an honor to be with you this evening. Thank you in advance for your time and attention. I greatly appreciate this speaking opportunity from the organizers of the Global Summit of Women 2022.

Over the course of this summit, we have shared valuable insights and ideas on expanding business opportunities and highlighting women’s distinct role in economic development. 

We looked at ways that we can utilize technology – particularly online technology like social media, cryptocurrency, and metaverses – to grow our businesses. And grow back better after the impact of the coronavirus pandemic.

During the coronavirus pandemic, we witnessed women leave the workforce in alarming numbers. In the US, the number of women who left the workforce was double the number of men. Much of the pressure pushing women out of the workforce was due to increased workloads alongside increased responsibilities at home.

Many families had to work and study together from home. We remained indoors with our children, staring at screens day and night. Children across the globe spent more time online during the pandemic unsupervised. Separated from their peers and restrained indoors, children reached out to people online for social interaction.

Before the pandemic, child trafficking and online child sexual exploitation were already on the radar of law enforcement agencies and child protection organizations across the globe. 

Abusers do not need to be in the same room as the child victim. They can groom a child online and convince the child to share indecent photos and videos of themselves.

Some abusers hire a trafficker to find and coordinate children. For example, predators in Western countries pay traffickers in Southeast Asian countries to arrange children to perform sexual acts live on video calls.

Traffickers may be a close relative of the childor a neighborhood nanny. Ignorance to the impacts of child abuse, poverty, Internet connectivity, and English skills can be driving factors of online child sexual exploitation.

During the pandemic, the number of vulnerable children online surged. In Thailand last year, the cases of online child sexual exploitation recorded by the Royal Thai Police’s Task Force for Internet Crimes against Children involved around 400,000 child victims.

Note that many cases of online and offline abuse go unreported. Reasons include fear of retaliation, shame, as well as not knowing who to trust and how to report the abuse. Child protection organizations like SafeguardKids Foundation, Childline Foundation, and Hug Project raise awareness in Thailand about forms of exploitation and what children can do to keep themselves safe.

Online abuse has no borders. 

Being aware of the transnational nature of child sex abuse, Her Majesty Queen Silvia of Sweden, Founder of World Childhood Foundation, shared lessons learned by Sweden with numerous countries, including Thailand. At a 2010 conference by the Thai Ministry of Justice, Her Majesty Queen Silvia highlighted how laws against child sexual abuse materialwere passed in Sweden in 1996 and 2010 to better protect children from sexual crimes.

We listened. We learned. And we lobbied.

In 2015, Thailand passed legislation to criminalize the possession of child sexual abuse material. 

Offenders can be imprisoned 5 years for possession, 7 years for forwarding, and 10 years for producing.

This law was passed nearly unanimously, with 193 of 196 parliamentarians voting in favor. The successful lobbying was done by a team of passionate Thai and Swedish patrons who formed SafeguardKids Foundation.

Before this law, Thai police could not detain offenders who were producing and sharing photos and videos of inappropriate interaction with children. Many offenders escaped justice and continued to sexually abuse children in Thailand. These offenders included Thai men and large numbers of foreign men who travelled across the globe for direct contact with children.

Efforts to keep children safe continue until this day. Thai legislators are currently reviewing a bill to extend protection from other forms of online harm to children. The new proposed bill criminalizes online grooming, sextortion, sexting, harassment, cyber-stalking and cyber-bullying. It also criminalizes accessing child sexual abuse material, like Western laws. So far, the draft bill has received positive support fromThai Senate and Cabinet and is under further review by our Ministry of Justice. 

As I mentioned, online abuse has no borders. Child safety is a global cause. We must all take part.

As industry leaders, decision-makers and influencers from over 60 countries, what are we doing to keep children safe online and offline?

The business development technologies we discussed during this summit – from social media, cryptocurrency, and metaverses – areexploited by child abusers.

They exploit social media to find child victims and to bond with other people who share harmful interests.

These abusers exploit cryptocurrency to pay for photos, videos, and live performances of child sexual abuse. They use it to pay for access into private groups in the Darknet where they can trade their collections and give each other advice on how to evade detection and justice. (The Darknet is a special-access part of the Internet where people can anonymously interact and hide their communications.)

Now, as we explore the metaverse of virtual worlds online, we must be aware of harmful interaction between people, especially between adults and children in this realm. Harassment, sexual touch, and rape already occur between players in metaverse, and the victims are psychologically and emotionally impacted.

To ensure children’s safety, we can take advantage of women’s natural leadership skills. Women are designed to think about the collective consequences of decisions on broader society, as evidenced by studies on women in the workforce. 

You here in this room have the power to influence the impact that technologies and your businesses make on society. 

Stay aware of the dangers posed by innovative technologies. Integrate child safety measures into the design of your products and services, contribute to strengthening local communities, support child protection organizations, promote digital literacy and online safety education programs.

During dinner tonight, let’s connect with each other and share ideas on actions we can take to help our children stay safe in the digital world and in the real world. Thank you!

Categories
กิจกรรมต่างๆ Technical Services weSafeguardKids

กฎหมายไทย: ความปลอดภัยบนโลกออนไลน์

ประเทศไทยยกระดับกฎหมายการปกป้องเด็กทั้งบนโลกออนไลน์และออฟไลน์

ในเดือนธันวาคม ปี พ.ศ.2558 ได้มีการร่างข้อบัญญัติกฎหมายโดย ดร.อัยการ มาร์ค เจริญวงศ์ และผู้ให้ข้อมูลจาก SafeguardKids ประเทศไทยได้ให้ข้อกฎหมายว่าด้วยการครอบครองสื่อหรือวัตถุลามกอนาจารเด็กเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย เมื่อเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2563 ประเทศไทยได้ตรวจสอบร่างตัวบทกฎหมายที่ได้เพิ่มเข้ามาเพื่อป้องกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพของเด็กบนโลกออนไลน์

ในวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.2563 ตัวแทนจากหน่วยงานสืบสวนคดีพิเศษ, สำนักอัยการสูงสุด, ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง, ศาลสูงสุด, และการช่วยเหลือทางกฎหมายที่สำคัญ และ องค์กรเอกชนช่วยเหลือปกป้องเด็ก ได้พบปะกันอีกครั้ง เพื่อทบทวนร่างบัญญัติ "การกระทำผิดต่อเด็กบนโลกออนไลน์" เพื่อให้รวมอยู่ในกฎหมายทางอาญา ร่างบัญญัตินี้รวมถึง การล่อลวง, การส่งข้อความที่สื่อไปในทางเพศ, การบีบบังคับ, การสะกดรอยตาม, และการระรานบนโลกออนไลน์ ซึ่งในปัจจุบันมีแนวโน้วที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง

กลุ่มผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้ให้ความสำคัญกับความชัดเจนของการใช้คำ เพื่อหลีกเลี่ยงการแปลความที่ไม่มีกฎเกณฑ์ ของผู้ถูกกระทำและผู้กระทำ ตลอดจนความสามารถที่จะใช้กฎหมายบัญญัติใหม่นี้ในการปฏิบัติอย่างแท้จริง ซึ่งการไตรตรองของร่างกฎหมายนี้จะเกิดขึ้นอีกครั้งต้นปี พ.ศ. 2564 นี้

Categories
ความเห็นอกเห็นใจที่สร้างแรงบันดาลใจ

การปกป้องเด็ก คือการลงทุนในอนาคตของชาติ

โดย น.ส.สโนว์ไวท์ สเมลเซอร์ สานักงานป้องกันยาเสพติดและปราบปรามอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ สำหรับแม็กกาซีน Forbes ประเทศไทย ฉบับเดือนเมษายน ปี 2015

เด็กและเยาวชนควรจะได้รับการส่งเสริมในฐานะ ทรัพยากรที่มีค่าที่สุดของประเทศ ดังนั้นการที่พวกเขาถูกทำร้าย หรือถูกละเมิด จึงส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศในเชิงลบ เป็นมูลค่าที่สูงมากทีเดียว ถึงแม้ว่าจะไม่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจเลยก็ตาม เด็กก็ไม่ควรจะถูกกระทำเลยไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดๆก็ตาม ในปี 2557 สหประชาชาติได้ทำการศึกษาพบว่า เกิดการสูญเสียในเชิงเศรษฐกิจ เป็นมูลค่าถึง 205.5 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ ในแถบประเทศเอเชียตะวันออก และคราบสมุทรแปซิฟิก แค่การล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กอย่าเดียวก็ก่อให้เกิดการสูญเสียถึง 39.2 ล้านเหรียญสหรัฐ

เด็กที่เป็นเหยื่อของการล่วงละเมิดจะกลายเป็นรายจ่ายต่อประเทศ เพราะเด็กเหล่านี้จะต้องใช้ทรัพยากรในการรักษาพยาบาล และการพักฟื้น เด็กที่ถูกละเมิดจะถูกจำกัดความคิดสร้างสรรค์ และไม่สามารถที่จะทำงานให้ได้ประสิทธิผลสูงสุดในการพัฒนาสังคม จึงไม่ส่งผลในการส่งเสริม GDP ของประเทศเมื่อพวกเขาถึงวัยทำงาน บางคนก็กลับไปสู่วงจรของการล่วงละเมิดผู้อื่นที่อ่อนแอกว่า 

ความสูญเสียที่เกิดจากการล่วงละเมิดทางเพศ

การล่วงละเมิดทางเพศเป็นแผลลึกที่อาจถูกปกปิดไว้จากบุคคลใกล้ชิดของเด็กเอง เด็กหลายคนที่กล้าที่จะบอกความจริงว่าตนถูกล่วงละเมิดเทางเพศ แล้วต้องพบเจอกับผู้ใหญ่ที่ไม่เข้าใจ และไม่เชื่อในสิ่งที่เด็กบอก จึงทำให้เด็กถูกทำร้ายซ้ำเติมด้วยข้อกล่าวหาว่าสร้างเรื่องโกหกขึ้นมา หรือโดนดุว่าสร้างเรื่องขึ้นมา กล่าวหาใส่ร้ายผู้อื่น หรือถูกกล่าวโทษว่าเป็นฝ่ายยั่วยุจึงทำให้เกิดเหตุการณ์ละเมิดขึ้น เด็กจึงเก็บความเจ็บปวดไว้โดยลำพัง และไม่กล้าที่จะไว้ใจผู้ใหญ่ที่ควรจะเป็นผู้ที่ช่วยเหลือพวกเขาอีก 

การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาด้านจิตใจและอารมณ์จึงทำให้เด็ก ไม่สามารถที่จะเรียนรู้และเสริมสร้างประสิทธิผลสูงสุดได้ตามที่ควร เด็กบางคนจะรู้สึกสูญเสียคุณค่าในตัวเอง และเสียความเคารพที่มีต่อตัวเอง เมื่อค้นพบว่าประสบการณ์ที่ตนเจอมาเป็นสิ่งที่ผิดต่อผิดศีลธรรม เด็กที่เป็นเหยื่อของการล่วงละเมิดทางเพศมักมีปัญหาในการเรียน ทำให้ผลการเรียนไม่ดี จึงทำให้มีโอกาสจำกัดในการหางานที่รายได้ดี และปัญหาการขาดความกระตือรือร้นมีผลกระทบเช่นเดียวกันในการทำงาน ซึ่งส่งผลต่อการก้าวหน้าทางหน้าที่การงาน การขาดความใส่ใจที่จะพัฒนาตัวเองและผลการเรียนและการทำงานที่ไม่เป็นที่น่าพอใจ ทำให้เด็กไม่สามารถทำประโยชน์อย่างเต็มที่ให้กับสังคมในยามที่โตเป็นผู้ใหญ่ในวัยทำงาน 

การช่วยดูแลวิถีชีวิต, การลดค่าใช้จ่าย

นักวิจัยพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการประเมินมูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้นทั่วโลก ในแง่ของความเสียหายที่เกิดขึ้นกับร่างกาย จิตใจ และความรุนแรงทางเพศ คือการคำนวน ความสูญเสียของประสิทธิผลมวลรวมของประเทศ (The Cost and Economic Impact of Violence against Children, ChildFund 2014) ซึ่งประเทศไทยมี GDP อยู่ที่ 387.25 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี 2014 ความสูญเสียของประสิทธิผลมวลรวมของประเทศไทยถูกประเมินไว้ที่ 30.98 พันล้านเหรียญสหรัฐหรือ 8% ของ GDP ของประเทศ เมื่อ GDP ของประเทศเติบโตขึ้น ความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากความรุนแรงต่อเด็กก็จะเพิ่มขึ้นเช่นกัน หากประเทศไทยลงทุนในการปกป้องคุ้มครองเด็กๆ ประเทศก็จะสามารถลดค่าใช้จ่ายที่ต้องสูญเสียไปกับการรักษาพยาบาลและการพักฟื้นได้

Source:  Estimating the Economic Burden of Violence against Children in East Asia and the Pacific – (UNICEF East Asia and the Pacific Regional Office, 2014)

การร่วมมือกับหุ้นส่วนหลักที่สำคัญ

ปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กเป็นปัญหาที่มีผลกระทบในวงกว้าง จึงเป็นไปไม่ได้ที่หน่วยงานใด หน่วยงานหนึ่งจะแก้ไขได้โดยลำพัง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้เข้ามาแก้ปัญหาทางสังคมหลายเรื่องเช่นการค้ามนุษย์และการดูแลผู้สูงอายุ แต่ดูเหมือนว่าทางกระทรวงมีงานล้มมือในการดูแลเหยื่ออยู่แล้ว 

ในปี 2556 กระทรวงสาธารณสุขได้รายงานว่า มีเด็กที่ถูกทารุณกรรมเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของรัฐ กว่า 19,000 คน จากจำนวนนี้ กว่า 70% หรือ 13,300 คนถูกนำมารักษาเพราะถูกล่วงละเมิดทางเพศ ตัวเลขนี้ถือว่ายังต่ำกว่าจำนวนเหยื่อทั้งหมด เป็นแค่จำนวนที่มีการรักษาดูแลทางการแพทย์ ตัวเลขคดีที่ถูกนำไปแจ้งความไว้กับตำรวจยิ่งต่ำกว่านี้อีก ตัวเลขของสำนักงานตำรวจแห่งชาติระบุว่าในปี 2556 มีเด็กที่ถูกล่วงละเมิด 2,791 คน ที่ร่วมมือกับตำรวจในการสอบสวนคดีเกี่ยวกับการล่วงละเมิดทางเพศเด็ก และโดยกว่าครึ่งของจำนวนนี้เป็นเด็กผู้ชาย

การจัดการของประเทศไทย

มีแนวโน้มในภูมิภาค ASEAN ในการแสดงภาพในรูปแบบ live streaming ของการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กที่ “นักล่า” นับแสนจากทั่วโลกสามารถเข้ามาดูได้ การผลิตสื่อลามกอนาจารเด็กดังกล่าวต้องเกิดจากการล่วงละเมิดทางเพศเด็กโดยผู้กระทำความผิดล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กและผู้ที่มีส่วนให้ความร่วมมือในการถ่ายทำ  

ผู้กระทำความผิดล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็ก มักครอบครอง ผลิต จำหน่าย และรับชมสื่อลามกอนาจารเด็กเหล่านี้ ผู้กระทำความผิดดังกล่าวจะใช้สื่อลามกนี้เป็นบัตรผ่าน เข้าไปยังกลุ่มคนที่มีรสนิยมแบบเดียวกัน ความต้องการสื่อลามกเหล่านี้ที่มากขึ้น ย่อมหมายความว่า เด็กจำนวนมากขึ้นจะต้องถูกล่วงละเมิดทางเพศ 

ผู้กระทำผิดยังใช้สื่อลามกอนาจารเด็ก (ซึ่งในอดีตเคยถูกเรียกว่า "หนังโป๊เด็ก"และก็เคยถูกเรียกว่า "วัตถุลามกอนาจารเด็ก" และ “child exploitation images”) เพื่อล่อลวงให้เด็กเชื่อว่าการมีกิจกรรมทางเพศระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่เป็นเรื่องปกติ สื่อลามกเหล่านี้ นอกจากจะเป็นเครื่องชี้ชวนให้เด็กยินยอม ยังถือเป็นหลักฐานที่แน่นหนาว่า การล่วงละเมิดทางเพศเด็กได้เกิดขึ้น และควรจะถูกใช้ให้เป็นประโยชน์ในการระบุถึงสถานที่ก่อเหตุ โดยผู้ที่มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย 

ประมาณสิบปีที่แล้ว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้ออก ร่าง พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย ถือได้ว่าเป็น พ.ร.บ. ที่มีเจตนาดีในการทำให้สื่ออนาจารเด็กเป็นสิ่งผิดกฎหมาย แต่เนื่องจากความตั้งใจที่จะแก้ปัญหาหลายส่วนในคราวเดียว ประเด็นเรื่องสื่อลามกอนาจารเด็กจึงมีโทษที่ไม่รุนแรงมากนัก หากต้องการหยุดยั้งห่วงโซ่ทางการตลาดที่ได้รับประโยขน์จากสื่อลามกอนาจารเด็ก ผู้บังคับกฏหมายจึงต้องมีเครื่องมือในการสกัด จับกุม และฟ้องร้องกล่าวโทษและดำเนินคดีต่อผู้กระทำผิดดังกล่าว  

ในปี 2556 สำนักงานป้องกันยาเสพติดและปราบปรามอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ สำนักงาน เอเชียตะวันออกเชียงใต้ และแปซิฟิก ได้ให้คำแนะนำกับ กระทรวงยุติธรรมในการจัดการกับสื่อลามกอนาจารเด็ก ภายในกรอบของกฎหมายดังนี้ 

  • พัฒนาการบทบัญญัติที่เฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับวัตถุลามกอนาจารเด็กและครอบคลุมบทลงโทษที่มีประสิทธิภาพรวมทั้งการกำหนดโทษทางอาญาสำหรับการครอบครองและการผลิตวัตถุลามกอนาจารเด็กไม่ว่าการมีไว้ในครอบครองหรือการผลิตนั้นจะทำเพื่อการค้าการแจกจ่ายหรือการใช้ในที่สาธารณะหรือไม่ก็ตาม
  • สร้างความมั่นใจว่าวัตถุลามกอนาจารเด็กจะสามารถถูกตีความให้ครอบคลุมถึงหลากหลายชนิดของวัสดุและสามารถปรับให้เข้ากับเทคโนโลยีใหม่ๆได้

ในเดือนกุมภาพันธ์ 2558 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สนช.ได้ผ่านร่าง พ.ร.บ. ที่ได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิพิทักษ์และคุ้มครองเด็ก โดยมีเนื้อหาที่นิยาม สื่อลามกอนาจารเด็ก ตามคำแนะนำของ UNODC และที่ครอบคลุมกว่าพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก เรื่องการขายเด็ก การค้าประเวณีเด็ก และสื่อลามกที่เกี่ยวกับเด็ก พ.ร.บ. ดังกล่าวกำหนดโทษจำคุกห้าปี หากครอบครองสื่อลามกอนาจารเด็ก และโทษจำคุกเจ็ดปี หากจำหน่ายหรือเผยแพร่สื่อลามกอนาจารเด็ก 

การทำให้การครอบครองสื่อลามกอนาจารเด็กเป็นสิ่งผิดกฎหมาย หมายความว่า การผลิตสื่อลามกอนาจารเด็กใหม่ นั่นหมายถึงการทำร้ายเด็กมากขึ้นด้วยนั้น จะผิดกฎหมาย หากสามารถบังคับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เด็กๆก็จะได้เป็นทรัพยากรที่มีค่า ที่จะส่งเสริมการพัฒนาประเทศ แทนที่รัฐจะต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลพวกเขา   

คุณจะช่วยได้อย่างไร?

ท่านก็สามารถมีส่วนร่วมในการสร้างอนาคตที่มั่นคง แข็งแรงให้กับเยาวชนและกับประเทศชาติ โดย: 

  • สนับสนุนให้รัฐบาลลงทุนในโครงการ และมาตรการป้องกันคุ้มครองเด็กที่มีผลในระยะยาว 
  • ค้นหาโอกาสในองค์กรของท่านที่จะช่วยลงทุนในโครงการป้องกันคุ้มครองเด็ก
  • ค้นหาโอกาสในการร่วมมือกับองค์กรอื่นๆ 
  • ลงชื่อสนับสนุนการพลักดัน พ.ร.บ. ที่ http://www.change.org/childabuse เพื่อที่จะทำให้การครอบครองสื่อลามกอนาจารเด็กเป็นสิ่งผิดกฎหมาย

Update

In December 2015, the Thai National Legislative Assembly passed the bill criminalizing the possession of child sexual abuse material nearly unanimously, with 193 of 196 members voting in favor of the law.